9notes.net

Folder
-> บทความ/หนังสือออนไลน์ -> How to manage the large scale application

9notes
IBM Lotus Domino/Notes / บทความ/หนังสือออนไลน์
How to manage the large scale application
BoldItalicUnderlineInsert LinkInsert Image
How to manage the large scale application (ตอนที่ 1)

ห่างหายไปนานจากการลงบนความเนื่องจากติดภาระกิจต่าง ๆ นานับประการ กลับมาคราวนี้ก็ขอลงเป็นบทความเกี่ยวกับสิ่งที่ผมได้ทำไปแล้วและกำลังจะทำ

อยู่ อันนี้เป็นสิ่งที่ผมคิดเอาเองบางอย่างผิดถูกประการใดขอน้อมรับมานะที่นี้ด้วยนะครับ เข้าเรื่องดีกว่าครับ คือ โดยส่วนตัวแล้วผมเองมักจะใช้เวลาในการ

ท่องอินเตอร์เน็ตค้นหาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ lotus notes มาประดับความรู้อยู่เสมอ หรืออาจจะมีการทำระบบขึ้นมาเพื่อใช้งานบ้างหรือดูจากตัวอย่างของที่

เมืองนอกทำ ๆ กันบ้างหรือคิดเอาเองบ้าง ผ่านไปผ่านมาก็ปรากฏว่าพอมาดูอีกทีปรากฏว่าที่เก็บ ๆ มา database มีอยู่ประมาณเกือบ ๆ 3000 กว่า database

แล้วที่เขียน ๆ เองก็ปาเข้าไป 80 กว่าก้อน แต่เท่าที่ลองมาคิดดู database แต่ละก้อนหรือ application แต่ละตัวไม่คุยกันเลย database บางอย่างที่มี

ตัวอย่างของชุดคำสั่งที่ดี ๆ นี่กว่าจะหาเจอแล้วหยิบมาใช้ได้นี่ก็ใช้เวลานานเหมือนกัน นี่นอกเหนือจากที่ปกติแล้วผมจะมีก้อน tip ส่วนตัวที่เอาไว้เป็น survival

guide ที่เป็นผู้ช่วยส่วนตัวแล้ว บางทียังไม่เพียงพอสำหรับงานบางงาน

<IMG SRC=/download.nsf/0/B7CE3589E84833E44725761800058FE6/$file/MANAGELARGESCALE1.JPG>

ผลจึงออกมาดังนี้ครับ เลยจำเป็นต้องมี Database Catalog ขึ้นมา พอทำไปทำมาก็เกิดไอเดียต่าง ๆ กระฉูดขึ้นมากมายนอกเหนือจากความต้องการอันแรก

ที่ผมต้องการเพียงแค่คนหาไว ๆ จากการใช้งาน catalog ส่วนตัวอันนี้

<IMG SRC=/download.nsf/0/B7CE3589E84833E44725761800058FE6/$file/MANAGELARGESCALE2.JPG>

ตอนนี้นอกเหนือจากที่ database แต่ละก้อนของผมคุยกันได้แล้วผมยังได้ visual source safe ที่เป็นตัวเก็บ source code ต่าง ๆ ของ program และการ

restore program เพียงแค่ไม่กี่คลิกเท่านั้นไว้ใช้สำหรับงาน migration application และยังได้เครื่องมือที่ใช้ในการ copy style ของ Action Bar ที่ใช้ copy

หน้าตาของปุ่มที่เคยสอนไปในหลักสูตรแรก (สำหรับท่านที่เรียนกับผมจะได้ตัวอย่างอันนี้ไปครับ) หรือ Source code ไปยัง database ต่าง ๆ เพียงแค่ไม่กี่

คลิกอีกด้วย


แต่เป้าหมายในชีวิตของผมยังไม่หมดแค่นี้ เอ๊ยไม่ใช่ เป้าหมายในการจะไปสู่ดวงดาวของผมคือ เทคโนโลยีในก้อนเมฆครับบางเว็บจะแปลเป็นไทย ๆ ว่า

การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆหรือที่เรียกว่า Cloud computing ซึ่งในปีนี้จะค่อนข้าง intrend มาก ๆ กับคำ ๆ นี้ที่ลึกซึ้งและกินใจฟังกี่ที่จากสัมมนาก็ประทับ

ใจทุกครั้ง (ไม่รู้เรื่อง+ใช้ไม่เป็น ฮ่า ๆ) รายละเอียดท่านสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากอันนี้ครับ

http://en.wikipedia.org/wiki/Cloud_computing

Cloud computing is style of computing in which dynamically scalable and often virtualized resources are provided as a service over the

Internet.[1][2] Users need not have knowledge of, expertise in, or control over the technology infrastructure in the "cloud" that supports

them.[3]
ถ้าแปลตรง ๆ ตาม wikipedia ก็จะหมายถึง การทำงานใน environment ที่ dynamic และ สามารถขยายหรือลดได้ตามความต้องการโดยใช้ resource ที่เป็น

แบบ virtual ที่ให้บริการเป็นบริการบน internet โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญมากมายในการใช้งานระบบ (อันนี้โดนใจผมเหลือเกินครับ)

ขอบคุณทุกข้อมูลแหล่งที่มาด้วยครับ

เหตุผลที่ผมทำ cloud โดยการเริ่มต้นที่จุดนี้ก่อนเพราะว่าผมคิดเอาเองว่าถ้า database แต่ละก้อนไม่สามารถลิงค์หากันได้แล้วมันคงจะทำอะไรก็ตามที่เป็น dynamic คงจะยากครับ ภาคแรกวันนี้เอาไว้เท่านี้ก่อนครับ มีเวลาแล้วเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้เพิ่มขึ้นจะมาลงภาคต่อให้ครับ

ปล. เตรียมพบกับสิทธิพิเศษต่าง ๆ มากมายจากการเป็นสมาชิกเว็บ 9Notes ต่อไปครับ


บทความ/หนังสือออนไลน์
 Date Posted
How to manage the large scale application #1
9notes
Webmaster

: 12/01/2007


How to manage the large scale application (ตอนที่ 1)

ห่างหายไปนานจากการลงบนความเนื่องจากติดภาระกิจต่าง ๆ นานับประการ กลับมาคราวนี้ก็ขอลงเป็นบทความเกี่ยวกับสิ่งที่ผมได้ทำไปแล้วและกำลังจะทำ

อยู่ อันนี้เป็นสิ่งที่ผมคิดเอาเองบางอย่างผิดถูกประการใดขอน้อมรับมานะที่นี้ด้วยนะครับ เข้าเรื่องดีกว่าครับ คือ โดยส่วนตัวแล้วผมเองมักจะใช้เวลาในการ

ท่องอินเตอร์เน็ตค้นหาความรู้ต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับ lotus notes มาประดับความรู้อยู่เสมอ หรืออาจจะมีการทำระบบขึ้นมาเพื่อใช้งานบ้างหรือดูจากตัวอย่างของที่

เมืองนอกทำ ๆ กันบ้างหรือคิดเอาเองบ้าง ผ่านไปผ่านมาก็ปรากฏว่าพอมาดูอีกทีปรากฏว่าที่เก็บ ๆ มา database มีอยู่ประมาณเกือบ ๆ 3000 กว่า database

แล้วที่เขียน ๆ เองก็ปาเข้าไป 80 กว่าก้อน แต่เท่าที่ลองมาคิดดู database แต่ละก้อนหรือ application แต่ละตัวไม่คุยกันเลย database บางอย่างที่มี

ตัวอย่างของชุดคำสั่งที่ดี ๆ นี่กว่าจะหาเจอแล้วหยิบมาใช้ได้นี่ก็ใช้เวลานานเหมือนกัน นี่นอกเหนือจากที่ปกติแล้วผมจะมีก้อน tip ส่วนตัวที่เอาไว้เป็น survival

guide ที่เป็นผู้ช่วยส่วนตัวแล้ว บางทียังไม่เพียงพอสำหรับงานบางงาน



ผลจึงออกมาดังนี้ครับ เลยจำเป็นต้องมี Database Catalog ขึ้นมา พอทำไปทำมาก็เกิดไอเดียต่าง ๆ กระฉูดขึ้นมากมายนอกเหนือจากความต้องการอันแรก

ที่ผมต้องการเพียงแค่คนหาไว ๆ จากการใช้งาน catalog ส่วนตัวอันนี้



ตอนนี้นอกเหนือจากที่ database แต่ละก้อนของผมคุยกันได้แล้วผมยังได้ visual source safe ที่เป็นตัวเก็บ source code ต่าง ๆ ของ program และการ

restore program เพียงแค่ไม่กี่คลิกเท่านั้นไว้ใช้สำหรับงาน migration application และยังได้เครื่องมือที่ใช้ในการ copy style ของ Action Bar ที่ใช้ copy

หน้าตาของปุ่มที่เคยสอนไปในหลักสูตรแรก (สำหรับท่านที่เรียนกับผมจะได้ตัวอย่างอันนี้ไปครับ) หรือ Source code ไปยัง database ต่าง ๆ เพียงแค่ไม่กี่

คลิกอีกด้วย


แต่เป้าหมายในชีวิตของผมยังไม่หมดแค่นี้ เอ๊ยไม่ใช่ เป้าหมายในการจะไปสู่ดวงดาวของผมคือ เทคโนโลยีในก้อนเมฆครับบางเว็บจะแปลเป็นไทย ๆ ว่า

การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆหรือที่เรียกว่า Cloud computing ซึ่งในปีนี้จะค่อนข้าง intrend มาก ๆ กับคำ ๆ นี้ที่ลึกซึ้งและกินใจฟังกี่ที่จากสัมมนาก็ประทับ

ใจทุกครั้ง (ไม่รู้เรื่อง+ใช้ไม่เป็น ฮ่า ๆ) รายละเอียดท่านสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้จากอันนี้ครับ

http://en.wikipedia.org/wiki/Cloud_computing

Cloud computing is style of computing in which dynamically scalable and often virtualized resources are provided as a service over the

Internet.[1][2] Users need not have knowledge of, expertise in, or control over the technology infrastructure in the "cloud" that supports

them.[3]
ถ้าแปลตรง ๆ ตาม wikipedia ก็จะหมายถึง การทำงานใน environment ที่ dynamic และ สามารถขยายหรือลดได้ตามความต้องการโดยใช้ resource ที่เป็น

แบบ virtual ที่ให้บริการเป็นบริการบน internet โดยที่ผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญมากมายในการใช้งานระบบ (อันนี้โดนใจผมเหลือเกินครับ)

ขอบคุณทุกข้อมูลแหล่งที่มาด้วยครับ

เหตุผลที่ผมทำ cloud โดยการเริ่มต้นที่จุดนี้ก่อนเพราะว่าผมคิดเอาเองว่าถ้า database แต่ละก้อนไม่สามารถลิงค์หากันได้แล้วมันคงจะทำอะไรก็ตามที่เป็น dynamic คงจะยากครับ ภาคแรกวันนี้เอาไว้เท่านี้ก่อนครับ มีเวลาแล้วเก็บข้อมูลต่าง ๆ ได้เพิ่มขึ้นจะมาลงภาคต่อให้ครับ

ปล. เตรียมพบกับสิทธิพิเศษต่าง ๆ มากมายจากการเป็นสมาชิกเว็บ 9Notes ต่อไปครับ


IBM Certified Application Developer - Lotus Notes and Domino 7
IBM Certified Advanced Application Developer - Lotus Notes and Domino 7


Last Edited by : 9Notes on
| | |

(0) Select a Rating...




:
: ืniratcha
: 1276, : 1174, : 3423
Last post was created by killdv at :
:
:
:
:
:

(0) (0)
NoneNone

: IBM Lotus Domino/Notes / บทความ/หนังสือออนไลน์

Yahoo bot last visit powered by MyPagerank.NetPowered by  MyPagerank.Net   Bookmark and Share